บทความ Web .NET และ Programming

ข้อดีของภาษา C# เมื่อเทียบกับภาษาอื่น ๆ ตอนที่ 1
ข้อดีของภาษา C# เมื่อเทียบกับภาษาอื่น ๆ บทความนี้จะอธิบายว่าภาษาซีชาร์พมีข้อดีกว่าภาษาต่าง ๆ อย่างไรบ้าง พร้อมแสดงตัวอย่างโค้ดเพื่อเปรียบเทียบให้เห็นความได้เปรียบนั้นอย่างชัดเจนด้วย

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 4
ในตอนที่ผ่านมาผู้เขียนได้พูดถึงพรอพเพอร์ตี (property) โดยละเอียด และได้พาดพิงถึงหลักการที่เกี่ยวข้องกับคลาสสิกพรอพเพอร์ตี อาทิ สมาชิกแบบฟิลด์, เอนเคปซูเลชัน, การเชื่อมหลวมและเกตเตอร์/เซตเตอร์ ในบทความตอนนี้ผู้เขียนจะพูดถึงแง่มุมต่าง ๆ ของการเขียนโค้ดใช้งานพรอพเพอร์ตี เช่น วิธีใส่โค้ดคัดกรองข้อมูลในคลาสสิกพรอพเพอร์ตี วิธีเขียนและใช้งาน “ออโตพรอพเพอร์ตี” (auto implemented properties) และวิธีลดทอนพรอพเพอร์ตีด้วย “นิพจน์ฝังตัว” (Expression-bodied members) ที่มีประโยชน์มาก เพราะจะช่วยให้การเขียนโค้ดกระชับขึ้นไปอีก

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 3
พรอพเพอร์ตี ของดีใน C# ในตอนที่ผ่านมาผู้เขียนได้พูดถึงพรอพเพอร์ตี (property) ไปแล้วอย่างคร่าวๆ ในบทความตอนนี้ได้เวลาที่จะพูดถึงพรอพเพอร์ตีโดยละเอียดเสียที พรอพเพอร์ตีเป็นเรื่องสำคัญ มันเป็นสมาชิกของคลาสที่ช่วยให้เราเขียนโปรแกรมตามลัทธิวัตถุวิธีได้ง่ายขึ้นและสวยงามขึ้น มันเป็นคุณสมบัติพิเศษในภาษาซีชาร์พที่ท่านจะไม่พบในภาษาอื่น การศึกษาให้เข้าใจว่าพรอพเพอร์คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร และใช้งานอย่างไรจะช่วยให้ท่านเขียนโค้ดแบบ OOP ในภาษาซีชาร์พได้อย่างสง่างาม

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 2
วัตถุวิธีซีชาร์ป: ตอน คลาส ในบทความตอนที่ผ่านมา ผู้เขียนได้แนะนำหลักการเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธี (Object Oriented Programming) ในภาษาซีชาร์ปอย่างกว้าง ๆ เพื่อให้เห็นภาพรวม ต่อไปนี้ผู้เขียนจะลงรายละเอียดเริ่มจากหัวข้อเอนแคปซูเลชัน โดยจะอธิบายเรื่องคลาสให้ละเอียดมากยิ่งขึ้น

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 1
การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) การออกแบบและเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธี (Object Oriented Programming: OOP ออพเจ็กต์โอเรียนเท็ดโปรแกรมมิง) ตั้งอยู่บนหลักการสามประการที่เปรียบได้กับสามเสาหลัก ประกอบด้วย หลักการเอนแคปซูเลชัน (Encapsulation) อินเฮียริแตนซ์ (Inheritance) และโพลิมอร์ฟิสซึม (Polymorphism) หากท่านเข้าใจหลักการทั้งสามนี้ ก็เท่ากับว่าท่านเข้าใจหัวใจของ OOP ทั้งหมดแล้ว

Interface คืออะไร และการใช้งาน interface
Interface คือ การกำหนดความสามารถของ object ใน OOP ว่าจะมีความสามารถตามที่ interface กำหนดไว้ หากจะทำการ implement interface นั้น ซึ่งก็ถือว่า เป็นการแยก Specification ออกจาก ส่วน implementation ของ class นั่นเอง ใช้สำหรับ Class อื่น ๆ สืบทอดไปใช้...
Drupal โมดูล View ใช้สำหรับดึงข้อมูลมาแสดงผล (ตอนที่ 1)
Module View เป็น โมดูลหนึ่งของ Drupal โดยเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการดึงข้อมูลมาแสดงผล ของเนื้อหาที่เราต้องการ โดยระบุสิ่งที่ต้องการแสดง เงื่อนไข การเรียงข้อมูล หากเปรียบเทียบเหมือนกับว่า View คล้ายๆ กับ Query ในฐานข้อมูลก็ได้...
Drupal Menu ใช้สำหรับสร้างเมนูและลิงค์
Drupal Menu – ใช้สำหรับสร้างเมนูและลิงค์ เป็นส่วนประกอบพื้นฐานอยู่แล้วสำหรับเว็บไซต์ที่จะต้องมีการเชื่อมโยง (Hyperlink) ทั้งภายใน ภายนอกเว็บไซต์ เราสามารถดู เมนู ได้จาก Structure > Menus โดยในแต่เนื่อหาของ Drupal...
Drupal Block เป็นพื้นที่ ๆ นำมาประกอบใน Web Page
Drupal Block – เป็นพื้นที่ ๆ นำมาประกอบใน Web Page Block เป็นส่วนประกอบพื้นฐานในการพัฒนาเว็บไซต์ใน Drupal Web Site เช่น Block ที่แสดง Banner, ฺBlock เพื่อแสดงรูปภาพ, Block ที่แสดงรายชื่อสมาชิก Facebook Fanpage เป็นต้น Block เป็น Structure...

Drupal 7 เป็นเครื่องมือเพื่อการพัฒนาเว็บไซต์แบบมืออาชีพ
Drupal เป็น Content Management System (CMS) ที่เป็น มากกว่า CMS คือเป็น Platform ที่สามารถนำมาใช้ต่อยอดในการพัฒนาเว็บไซต์ได้อย่างอิสระ และ รวดเร็ว มีความสามารถสูงในการจัดการเนื้อหาต่างๆ ออกแบบโครงสร้างของเว็บไซต์เองได้ มีโมดูล และธีมให้เลือกใช้มากมาย...