บทความ Web .NET และ Programming

BOT ดึงอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทยอัตโนมัติผ่าน API ด้วย .NET Core
ในบทความนี้ 9Expert Training จะนำเสนอวิธีดึงอัตราแลกเปลี่ยนเงินสกุลต่าง ๆ 48 สกุล อัพเดตอัตโนมัติทุกวัน แปลงเป็นเงินบาท ผ่าน API ของของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยการเขียนโค้ดภาษา C# แบบ .NET Core ที่สามารถนำไปใช้ใน Appได้ทุกแบบ (โมบาย เว็บ เซอร์วิส) ทุกแพลตฟอร์ม (Windows, Linux macOS, Android)

API คืออะไร? มีประโยชน์อย่างไรในธุรกิจ
ในยุคดิจิทัลที่ธุรกิจต้องการเชื่อมโยงบริการต่าง ๆ เข้าด้วยกัน API (Application Programming Interface) กลายเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ระบบต่างๆ ทำงานร่วมกันได้อย่างราบรื่น API ไม่ใช่แค่เครื่องมือสำหรับนักพัฒนา แต่ยังมีผลกระทบอย่างมากต่อประสิทธิภาพขององค์กร โดยเฉพาะเมื่อรวมเข้ากับ RPA (Robotic Process Automation) และ Power Automate ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานอัตโนมัติ และสามารถควบคุม SaaS ได้มากมาย

การบัฟเฟอร์ข้อมูลของ Memory<T> และ Span<T> ใน .NET Core 3 และ C# 8
ในบทความ มีอะไรใหม่ใน .NET Core 3 และ C# 8 : Stackalloc ซ้อนนิพจน์ ได้พูดเรื่อง stackalloc ที่เริ่มตั้งแต่ C#8 และ .NET Core 3.0 ถ้าผลลัพธ์ของนิพจน์ stackalloc มีชนิดข้อมูลเป็นแบบ System.Span หรือ System.ReadOnlySpan เราสามารถใส่นิพจน์ stackalloc ซ้อนไว้ภายในนิพจน์อื่น ๆ ได้ สำหรับบทความนี้จะกล่าวถึง ลักษณะการบัฟเฟอร์ข้อมูลของ Memory และ Span ว่ามีข้อควรพิจารณาในการใช้งานอย่างไร

ref struct ใน .NET Core 3 และ C# 8
จากบทความ มีอะไรใหม่ใน .NET Core 3 และ C# 8 : Stackalloc ซ้อนนิพจน์ ได้พูดถึง คุณสมบัติ Span ไว้ และได้บอกว่ามันคือ ref struct ในหัวข้อนี้จะขออธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับ ref struct โดยย่อพอเข้าใจ

Record types ใน .NET 5 และ C# 9
.NET 5.0 มีการปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่ม Feature ใหม่ๆ สำหรับบทความนี้ขอแนะนำให้รู้จักกับ Records Types ในภาษา C# ซึ่งเป็น Version 9.0 (C# 9)

Using statement ใน .NET Core 3 และ C#8
เมื่อเรามีการเขียนคำสั่งในการสร้างอ็อบเจกต์ จะมีการใช้พึ้นที่บนหน่วยความจำในการเก็บค่าต่าง ๆ แต่ปรกติเราไม่จำเป็นต้องทำลายอ็อบเจกต์ เพราะอ็อบเจกต์ส่วนใหญ่จะถูก garbage collector นำไปทำลายโดยอัตโนมัติเมื่อหมดหน้าที่การทำงานแล้ว

Using directive ใน .NET Core 3 และ C#8
นอกจากการจะใช้คำสั่ง using เพื่อทำ Using declarations ซึ่งเป็นการใช้กับการประกาศตัวแปรหรือ Object ภายในไฟล์ ซึ่งสามารถอ่านได้ที่บทความ Using declarations ใน .NET Core 3 และ C#8 ภาษา C# ยังมีการใช้คำสั่ง using ในลักษณะอื่นอีกได้แก่ 1. การใช้ using เพื่อการกำหนด namespace ที่ต้องการอ้างถึงเพื่ออำนวยความสะดวกให้ไม่ต้องอ้างถึงคลาสหรือสิ่งต่าง ๆ แบบ fully qualify

มีอะไรใหม่ใน .NET 5 และ C# 9
.NET 5.0 เป็นเวอร์ชั่นใหม่ของ .NET Core ต่อจากเวอร์ชั่น 3.1 โดยชื่อจะเรียก “.NET 5.0” แทนที่จะเป็น .NET Core 4.0 โดยทางบริษัทไมโครซอฟต์มีเหตุผลหลัก ๆ คือ

Using declarations ใน .NET Core 3 และ C#8
บทความนี้กล่าวถึง Using declarations ใน .NET Core 3 และ C#8 เปรียบเทียบกับการใช้ Using แบบเดิมก่อนที่เขียนใน Version ก่อนหน้า

ข้อดีของภาษา C# เมื่อเทียบกับภาษาอื่น ๆ ตอนที่ 9
เมธอดเสริม (Extension Method) แปลกกว่าเมธอดสมาชิกอื่น ๆ ที่เวลานิยามเราต้องนิยามมันแบบสแตติกเมธอด (static method เมธอดที่เป็นสมาชิกของคลาส ไม่ใช่ของออพเจ็กต์) แต่เวลาเรียกใช้งานเรากลับต้องเรียกใช้งานแบบอินสแตนซ์เมธอด (instance method เมธอดที่เป็นสมาชิกของออพเจ็กต์ ไม่ใช่ของคลาส) พารามิเตอร์ตัวแรกของเมธอดเป็นตัวกำหนดว่าเมธอดนั้นทำงานกับอะไร ในรูปที่ 1 บรรทัดที่ 9 จะเห็นว่ามีคำสั่ง (โมดิไฟเออร์) this ปรากฏอยู่หน้าพารามิเตอร์ คำสั่ง this ทำหน้าที่กำหนดว่าเมธอดนี้ทำงานกับออพเจ็กต์ (ไม่ใช่กับคลาส)