บทความ Excel, Access, SQL Server, ASP.NET, Windows, Database, IT
เก่งโค้ดงาน Business Intelligence ตอนที่ 4
ถ้าเปรียบเรคคอร์ดเป็นตารางในฐานข้อมูล ฟิลด์ก็คือคอลัมน์ต่าง ๆ การดึงข้อมูลจากตารางในภาษา SQL เราใช้คำสั่ง select ภาษาเอ็มก็มีตาราง (table) ที่จะพูดถึงในหัวข้อต่อไป ส่วนในหัวข้อนี้เป็นการดึงข้อมูลจากเรคคอร์เฉพาะบางฟิลด์ที่กำหนด เราใช้วิธีเขียนคำสั่งซึ่งมีซินแท็กซ์ดังนี้

มีอะไรใหม่ใน .NET Core 2 และ C# 7 : คุณสมบัติ ref return ,ref local กับ Local Function
คุณสมบัติ ref return เริ่มตั้งแต่C# 7.0 จากนั้นพอมาถึงC# 7.3 ก็เพิ่มคุณสมบัติ ref local เพื่อให้ใช้งานคู่กัน ทำให้เขียนโค้ดฝั่งmethodและฝั่งตัวรับได้สะดวกยิ่งขึ้นไปอีก ปรกตินักเขียนโค้ดอย่างเราจะใช้ตัวกระทำ ref (ความจริงเป็นmodifierแต่เพื่อให้กระชับต่อไปนี้จะเรียกว่าเป็น “คำสั่ง” ) เมื่อต้องการส่ง “ค่าอ้างอิง” ไปเป็นพารามิเตอร์ (คือการส่งค่าไปยังmethodโดยส่งค่าอ้างอิงไป ไม่ได้ส่งค่าของตัวแปรไป) หรือที่เรียกว่า “การผ่านตัวอ้างอิง” (pass by reference) นี่เป็นคุณสมบัติที่มีในC#ตั้งแต่versionแรก แต่มาตอนนี้เราสามารถใช้คำสั่ง ref ในลักษณะอื่น ๆ ได้ด้วย ในตอนที่ผ่านมาผู้เขียนได้พูดถึงการการใช้ ref return ไปแล้วบางส่วน ในบทความตอนนี้จะอธิบายรายละเอียดของ ref return ที่เหลือ และจะต่อด้วยเรื่องคุณสมบัติ ref local ด้วย

Checkpoint หัวใจงานนำเสนอ
เทคนิคในการสร้างงานนำเสนอ ที่ตอนทำจริงมักจะลืม ก็เลยเป็นบทความสรุปจุดเช็ค (Checkpoint) ว่าการทำงานนำเสนอความคำนึงเรื่องอะไรบ้าง

มีอะไรใหม่ใน .NET Core 2 และ C# 7 : ตัวกระทำ is กับ คุณสมบัติใหม่ในคำสั่ง switch และ Ref local
เริ่มในภาษาC# เวอร์ชั่น 7.0 ขึ้นไปตัวกระทำ is มีความสามารถเพิ่มจากเดิมเพื่อใช้ในงานตรวจสอบรูปแบบที่ซับซ้อนได้ดีขึ้นกว่าเดิม ตัวกระทำ is ใช้หาชนิดของtypeเพื่อตรวจสอบความเข้ากันได้ขณะrunโปรแกรม มันทำหน้าที่ตรวจว่า objectหรือผลลัพธ์จากนิพจน์สามารถแปลงไปเป็นชนิดข้อมูลที่กำหนดได้หรือไม่ มีsyntaxอย่างที่เห็นในรูปที่ 1 บรรทัด 3

เก่งโค้ดงาน Business Intelligence ตอนที่ 3
ในภาษาเอ็มเราสามารถอ้างอิงถึงตัวแปรหรือสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ภายในสภาพแวดล้อมได้โดยใช้ “ตัวระบุ” หลักการนี้มีชื่อว่า “การอ้างด้วยตัวระบุ” (Identifier References IR) ซึ่งมีสองแบบคือ “การอ้างด้วยตัวระบุจำเพาะ” (Exclusive-identifier-reference EIR) ที่เป็นวิธีปรกติ กับ “การอ้างด้วยตัวระบุไม่จำเพาะ” (Inclusive-identifier-reference IIR) ซึ่งเป็นวิธีพิเศษ

ข้อดีของภาษา C# เมื่อเทียบกับภาษาอื่น ๆ ตอนที่ 10
ข้อดีของภาษาซีชาร์ปที่เหนือกว่าภาษาอื่น (อย่างภาษาซี) คือสนับสนุนการเขียนนิพจน์แลมบ์ดาในตัวโดยไม่ต้องเรียกใช้ส่วนเพิ่มขยายพิเศษใด ๆ นิพจน์แลมบ์ดาคือฟังก์ชันที่ไม่ระบุชื่อ (anonymous function) ที่เราสามารถนำมาใช้สร้างเดลลีเกตหรือเอ็กซ์เพรสชันทรี (expression tree) ได้ เราสามารถใช้นิพจน์แลมบ์ดาเพื่อเขียนฟังก์ชันท้องถิ่นเพื่อใช้เป็นอาร์กิวเมนต์ของฟังก์ชันและใช้เป็นค่าส่งกลับของฟังก์ชันก็ได้ นิพจน์แลมบ์ดาจะมีประโยชน์เป็นพิเศษเมื่อเราเขียนนิพจน์เพื่อสืบค้นข้อมูลด้วยภาษา LINQ

แผนที่ (Map) ใน Power BI
จากที่ได้ทำโปรเจคเกี่ยวกับ Power BI มาพักหนึ่งอยากจะมาแชร์ให้ฟังเกี่ยวกับการทำงานกับ Map ใน Microsoft Power BI Desktop ว่าใช้แผนที่ตัวใดเหมาะสม

ภาษาโปรแกรม Python คืออะไร ?
โลกในยุคดิจิทัล (Digital age) ได้มีความก้าวหน้าในการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดด ทำให้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาขับเคลื่อนธุรกิจ และอำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน เช่น การทำธุรกรรมทางการเงินกับธนาคารแบบออนไลน์ การใช้ระบบสั่งการคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง การตรวจสุขภาพเบื้องต้นด้วยแอปพลิเคชันบนมือถือ และระบบ Google Search ที่สามารถรู้ว่าคุณกำลังค้นหาข้อมูลอะไรก่อนที่เราจะพิมพ์จบประโยค เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีนวัตกรรมเทคโนโลยีที่มีความล้ำหน้าต่าง ๆ

เก่งโค้ดงาน Business Intelligence ตอนที่ 2
ฟังก์ชันในภาษา M เป็นการจับคู่ระหว่างค่าอินพุตกับค่าเอาต์พุต เราสามารถเขียนนิยามฟังก์ชันได้โดยเริ่มจากการกำหนดชุดของอินพุต (ส่วนที่เป็นพารามิเตอร์ของฟังก์ชัน) แล้วตามด้วยนิพจน์ซึ่งทำหน้าที่คำนวณสิ่งที่จะเป็นผลลัพธ์ของฟังก์ชัน (ส่วนที่เป็นไส้ของฟังก์ชัน) โดยใส่เครื่องหมาย “ส่งไปยัง” ( => ) ไว้ระหว่างอินพุตกับนิพจน์

ข้อดีของภาษา C# เมื่อเทียบกับภาษาอื่น ๆ ตอนที่ 9
เมธอดเสริม (Extension Method) แปลกกว่าเมธอดสมาชิกอื่น ๆ ที่เวลานิยามเราต้องนิยามมันแบบสแตติกเมธอด (static method เมธอดที่เป็นสมาชิกของคลาส ไม่ใช่ของออพเจ็กต์) แต่เวลาเรียกใช้งานเรากลับต้องเรียกใช้งานแบบอินสแตนซ์เมธอด (instance method เมธอดที่เป็นสมาชิกของออพเจ็กต์ ไม่ใช่ของคลาส) พารามิเตอร์ตัวแรกของเมธอดเป็นตัวกำหนดว่าเมธอดนั้นทำงานกับอะไร ในรูปที่ 1 บรรทัดที่ 9 จะเห็นว่ามีคำสั่ง (โมดิไฟเออร์) this ปรากฏอยู่หน้าพารามิเตอร์ คำสั่ง this ทำหน้าที่กำหนดว่าเมธอดนี้ทำงานกับออพเจ็กต์ (ไม่ใช่กับคลาส)
